อัจฉริยะสารสนเทศเพื่อการศึกษา
สมัยก่อนนั้น คนเดินทางไปที่โรงภาพยนตร์หรือโรงละครหากต้องการผ่อนคลายได้รับความเพลิดเพลินบันเทิงใจจากการชื่นชมผลงานศิลปะการแสดง แต่ด้วยข้อจำกัด![]() เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบการพัฒนาสื่อบันเทิงเหล่านี้กับสื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา (Higher Education) เราพบมีความคล้ายคลึงกันอยู่พอสมควร นักศึกษายังจำเป็นต้องไปกระจุกตัวรวมกันตามห้องเรียนที่มหาวิทยาลัยต่างๆ เหมือนกับการไปดูละครที่โรงมหรสพ แต่อย่าไปคิดว่าอาจารย์ที่สอนอยู่กำลังเล่นละครให้ดูนะครับ ท่านผู้รู้หลายท่านจึงเห็นว่าเทคโนโลยีสารสนเทศดังกล่าวข้างต้นควรถูกนำมาใช้เพื่อบริหารจัดการ เนื้อหา ด้านการเรียนรู้ ผมเองนั้นเกี่ยวข้องเรื่องนี้ทั้งทางตรงและทางอ้อม อีกทั้งอยู่ในระบบที่ต้องใช้เทคโนโลยีนี้ สร้าง คนรุ่นใหม่ จึงอยากจะเสนอความเห็นดังนี้ |
||
![]() |
||
ประการที่สองคือการสื่อสาร(Communication) ผมเองนั้นเป็นผลิตผลกับการศึกษา![]() |
||
สุดท้ายเป็นเรื่องของประเมินผล (Assessment) เดี๋ยวนี้นักศึกษาส่งรายงานการบ้านหลายหน้า แต่ไปคัดลอกมาจากอินทราเนตหรือไฟล์จากเพื่อน…ง่ายและเร็วดี ก็เลยไม่รู้ว่ารู้จริงหรือเปล่า? สมัยก่อนผมจะลอกการบ้านเพื่อนทั้งทีต้องเขียนด้วยลายมือตัวเองอย่างน้อยได้ทบทวน จนบางครั้งตอนสอบทำคะแนนได้ดีกว่าเพื่อนที่ให้ลอกเสียอีก ในระบบการศึกษาใหม่ที่เทคโนโลยีสารสนเทศมาเกี่ยวข้อง ความหมายของใบกระดาษปริญญาและประกาศนียบัตรคงต้องเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม หลักสูตรอาจต้องถูกสร้างขึ้นมาอย่างหลวมๆเพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาไปในทิศทางที่ตนเองมีศักยภาพได้ เราอาจได้เห็นหลักสูตรปริญญา 4 ปี ถูกทอนออกมาเป็นกลุ่มๆละครึ่งปี แล้วมีการวัดผลแต่ละครั้งและได้รับประกาศนียบัตรย่อยไป อย่างไรก็ตามมาตรฐานการวัดผลยังเป็นข้อถกเถียงกันอยู่มาก ต้องอาศัยงานวิจัยมาสนับสนุนและหาแนวทางที่มีประสิทธิภาพ ข้างต้นเป็นส่วนหนึ่งของการหารือระหว่างผมและ Prof. Fred Moavenzadeh ผู้อำนวยการโครงการพัฒนาเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีแห่งมลรัฐแมสซาชูเซสส์ (MIT) รายละเอียดทั้งหมดอยู่ใน บทความวิชาการเรื่อง IT-enabled Higher Educational System: A Paradigm Shift ครับ —————————————————————————————— ดร. ชิต เหล่าวัฒนา จบปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ (เกียรตินิยม) จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี ไดัรับทุนมอนบูโช รัฐบาลญี่ปุ่นไปศึกษาและทำวิจัยด้านหุ่นยนต์ที่มหาวิทยาลัยเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยคาร์เนกี้เมลลอน สหรัฐอเมริกา ด้วยทุนฟุลไบรท์ และจากบริษัท AT&T ได้รับประกาศนียบัตรด้านการจัดการเทคโนโลยีจากสถาบันเทคโนโลยีแห่งมลรัฐแมสซาชูเซสต์ (เอ็มไอที) สหรัฐอเมริกา
|